ฮายาบูซะ 2
ฮายาบูซะ 2

ฮายาบูซะ 2

ฮายาบูซะ 2 (อักษรโรมัน: Hayabusa2; ญี่ปุ่น: はやぶさ2 โรมาจิหมายถึงเหยี่ยวเพเรกริน) เป็นโครงการสำรวจและเก็บตัวอย่างดาวเคราะห์น้อยกลับสู่โลก ดำเนินงานโดยองค์การสำรวจอวกาศญี่ปุ่น (JAXA) ถือเป็นภารกิจต่อจากภารกิจฮายาบูซะ ซึ่งประสบความสำเร็จในการสำรวจดาวเคราะห์น้อย 25143 อิโตกาวะไปเมื่อปี พ.ศ. 2548[5]ยานสำรวจฮายาบูซะ2 สร้างโดยบริษัท NEC ของญี่ปุ่น[6] ซึ่งเป็นบริษัทเดียวกันกับที่สร้างยานฮายาบูซะ ภารกิจครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบผลการพัฒนาจุดอ่อนและปัญหาทางเทคนิคที่เกิดขึ้นเป็นจำนวนมากในยุคของฮายาบูซะ[7]

ฮายาบูซะ 2

เข้าวงโคจร 27 มิถุนายน พ.ศ. 2561[4]
ผู้ผลิต NEC[1]
เว็บไซต์ Hayabusa2 on jaxa.jp
ลงจอด ธันวาคม พ.ศ. 2563 (แผน)
มวลขณะส่งยาน 609 กิโลกรัม
COSPAR ID 2014-076A
กำลังไฟฟ้า 2.6 kW (ที่ระยะ 1 AU)
1.4 kW (ที่ระยะ 1.4 AU)
ขนาด (1 × 1.6 × 1.25) ม. (แกนยาน)
(6 × 4.23) ม. (แผงโซลาร์)
ประเภทภารกิจ เก็บตัวอย่างจากดาวเคราะห์น้อยและนำกลับ
SATCAT no. 40319
ผู้ดำเนินการ องค์การสำรวจอวกาศญี่ปุ่น
วันที่ส่งขึ้น 3 ธันวาคม พ.ศ. 2557, 04:22 น. UTC[2]
ระยะห่าง 3,090 กิโลเมตร[3]
พิกัดลงจอด วูเมอรา, ออสเตรเลีย
จรวดนำส่ง H-IIA 202
เข้าใกล้สุด 3 ธันวาคม พ.ศ. 2558
ออกวงโคจร ธันวาคม พ.ศ. 2562 (แผน)
ฐานส่ง LA-Y, ศูนย์ศึกษาอวกาศทาเนงาชิมะ

แหล่งที่มา

WikiPedia: ฮายาบูซะ 2 http://www.asahi.com/special/rocket/hayabusa2_3d/ http://www.nec.com/en/press/201412/global_20141203... http://spaceflightnow.com/2014/12/03/hayabusa-2-la... http://spaceflightnow.com/news/n1201/29hayabusa2 http://nssdc.gsfc.nasa.gov/nmc/spacecraftDisplay.d... http://science.nasa.gov/media/medialibrary/2012/05... http://global.jaxa.jp/press/2014/09/20140930_h2af2... http://global.jaxa.jp/press/2015/12/20151214_hayab... http://global.jaxa.jp/projects/sat/hayabusa2/ http://global.jaxa.jp/projects/sat/hayabusa2/pdf/H...